ข้อมูลทุนการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ข้อมูลทุนการศึกษา ทุน กยศ. ทุน กรอ. ทุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เฉพาะปี) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประเภทที่ 1 ทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ – เป็นนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 2-5 – ต้องไม่ได้รับทุนอื่นภายในปีการศึกษาเดียวกัน ยกเว้นทุนกู้ยืม -. รายได้ของครอบครัวรวมกันต้องไม่เกิน 200,000 บาท/ปี ประเภทที่ 2 ทุนเรียนดี – เกรดเฉลี่ยสะสม 2.70 ขึ้นไป – เป็นนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 2-4 ประเภทที่ 3 ทุนจิตอาสา/ ทำคุณประโยชน์/ สร้างชื่อเสียงให้คณะวิทยาศาสตร์ฯ – เป็นนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 2-4 มูลนิธิอื้อจือเหลียง – ต้องเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ถึง 4 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี –
บทความวิชาการ
บทความวิชาการ การเปลี่ยนฟางข้าว (ของเหลือทิ้งในนาข้าว) เป็นปุ๋ยอินทรีย์ในลักษณะปุ๋ยหมักโดย ผศ.ดร.สิรวัลภ์ เรืองช่วย ตู้ประกาย บทคัดย่อ การเผาฟางข้าวเป็นวิธีการจัดการฟางข้าวที่เกษตรผู้ทานาส่วนใหญ่ของประเทศไทยนิยมใช้จัดการฟางข้าวหลังการเก็บเกี่ยว เนื่องจากสะดวก รวดเร็ว ต้นทุนต่า และประกอบกับความเชื่อบางประการเรื่องการฆ่าเชื้อโรคในดิน แต่การจัดการฟางข้าวด้วยวิธีการดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ และมลพิษทางดิน ซึ่งเป็นปัญหามลพิษทั้งในระดับพื้นที่ และระดับโลก การผลักดันให้จัดการฟางข้าวโดยการเปลี่ยนฟางข้าวเป็นปุ๋ยอินทรีย์ในลักษณะของปุ๋ยหมัก จึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวแล้วได้ จากสมบัติของฟางข้าวสามารถนามาหมักเพื่อผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ ซึ่งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ๋ยหมัก ได้แก่ อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio) ขนาดของวัสดุ ขนาดของความสูงของกองหมัก อุณหภูมิ ความชื้นปริมาณอากาศหรือออกซิเจน ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องในกองปุ๋ย ระยะเวลาที่ต้องการสาหรับกระบวนการหมัก และสารเร่งชนิดอื่น ๆ ดาวน์โหลด (Download) บทความวิชาการ เรื่องขยะชุมชน: การจัดการและผลกระทบโดยปารินดา สุขสบาย และ สิรวัลภ์ เรืองช่วย ตู้ประกาย บทคัดย่อ ปัญหาขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย (Municipal solid waste) นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานเนื่องจากมีปริมาณการผลิตขยะที่เพิ่มขึ้นทุกปี ในปี 2561 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น
Read More